10 เรื่องน่ารู้ อารยธรรมอินเดีย ดินแดนภารตะ ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก อารยธรรมอินเดียที่ยิ่งใหญ่และอยู่ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุด ความกลมเกลียวท่ามกลางความแตกต่าง ด้วยการผสาน ของความหลากหลายรวมไว้ด้วยกันของอินเดีย อยากรู้ว่ามีอะไรบ้างไปดูกันเลย
1. อารยธรรม ลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมอินเดีย ลุ่มแม่น้ำสินธุ กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในช่วงแรก ๆ คือ พวกดราวิเดียน ซึ่งผู้ปกครอง เป็นราชาและขุนนาง แต่เมื่อพวกอารยันข้ามาปกครอง ทำให้มีการเปลี่ยนไป คือ ดราวิเดียนถูกลดฐานะลงเป็นทาส ความสัมพันธ์ของคนในสังคมระยะแรกมีการแต่งงานระหว่างชนสองกลุ่ม ทำให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างเผ่าพันธุ์ จึงกลายเป็นระบบชนชั้นที่แบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจน
มีการแบ่งออกเป็น 4 วรรณใหญ่ ๆ ได้แก่ วรรณพรามณ์ ผู้ประกอบพิธีกรรมและสืบสารต่อศาสนา วรรณะกษัตริย์ มีหน้าที่ปกป้อง วรรณะแพศย์ มีหน้าที่ผลิตอาหารและหารายได้ให้แก่บ้านเมือง วรรณะศูทร คือคนพื้นเมืองของแคว้น มีหน้าที่รับใช้วรรณะทั้งสาม ส่วนลูกของคนที่เกิดจากการแต่งงาข้ามวรรณะจะจัดให้อยู่นอนกสักคม ที่เรียกกันว่า พวกจัณฑาล และยังมีในหมู่บ้านชาวอารยัน สตรีชั้นสูงในสังคมและใช้โคการวัดความมั่งคั่งร่ำรวย
พวกดารวิเดียนนับถือสัตส์บางชนิด เช่น ช้าง แรด และช้าง นอกจากนับถือเพทเจ้าต่าง ๆ ยังมีแม่พระธรณี ซึ่งเป็นเทพีแห่งความอุดดมสมบูรณ์ พวกอารยันที่เชื่อตามพวกวิเดียนบางคนก็หันมานับถือ เช่น โค พระศวะและศิวลึงค์ ยังมีเทพอีกหลายองค์ และแม่น้ำคงคาทีชาวอินเดียเชื่อกันว่าเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ หากนำเอาศพมาลอยน้ำจะได้ขึ้นสวรรค์ และถ้าใครได้ดื่มน้ำและอาบน้ำก็จะเป็นศิริมงคลเป็นอยางมาก
2. ศาสนา อินเดีย
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ อารยธรรมอินเดีย ดินแดนภารตะ คือ เรื่องของศาสนา อินเดียเป็นแหล่งกำเนิดศาสนาที่สำคัญของโลกตะวันออก สมัยพราหมณ์ ความเชื่อของคนในสมัยนั้น จะเชื่อเรื่องของผู้ยิ่งใหญ่ ผู้สร้างโลก และผู้สร้างสรรพสิ่ง พระศวะหรือ พระอิศวร พระองค์เป็นมหาเทพผู้ทำลายล้าง สิ่งที่เลวร้าย และทำให้เกิดความดีงาม ความเป็นศิริมงคลและนำความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ผู้ที่มีอาชีพเลี้ยงวัว เลี้ยงม้า หรือสั่งแกะ และอาชีพที่เกี่ยวกับการเกษตรทั้งหมด ช่วยทำให้ประสบความสำเร็จและความอุดมสมบูรณ์กันทั่วหน้า พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ เป็นเทพแห่งสันติสุขและปราบปรามความยุ่งยากให้หมดสิ้น และพระพรหมเป็นเทพแห่งผู้สร้าง เป็นผู้กำหนดชะตาชีวิตของทุกคน
3. พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา อารยธรรมอินเดีย มีคำสอนหลักที่สำคัญ ว่า อริยสัส 4 มีจุดหมายเพื่อมุ่งสู่นิพาน พระพุทธศาสนา มีคำสอนหลักที่สำคัญ ว่า อริยสัส 4 มีจุดหมายเพื่อมุ่งสู่นิพาน ศาสนาเชน มีศาสดา คือ มหาวีระ มีนิกายที่สำคัญ 2 นิกายด้วยกัน คือ นิกายเศวตัมพร จะนุ่งผ้าขาว ถือว่าสีขาวเป็นสีแห่งความบริสุทธิ์ นิกาย ทิฆัมพร จะไม่นุ่งห่มอะไรเลย “เปลือย” มหาวีระ ศาสดาศาสนาเชน พระพุทธศาสนา มีคำสอนหลักที่สำคัญ ว่า อริยสัส 4 มีจุดหมายเพื่อมุ่งสู่นิพาน ศาสนาเชน มีศาสดา คือ มหาวีระ มีนิกายที่สำคัญ 2 นิกายด้วยกัน คือ นิกายเศวตัมพร จะนุ่งผ้าขาว ถือว่าสีขาวเป็นสีแห่งความบริสุทธิ์ นิกาย ทิฆัมพร จะไม่นุ่งห่มอะไรเลย “เปลือย” มหาวีระ ศาสดาศาสนาเชน
4. ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ ก่อตั้งขึ้นมาโดยพระศาสดา ศรี คุรุ นานัก เดวยิในปี พ.ศ. 2012 “ค.ศ. 1469” ศาสนาจะมีคำสอนพื้นฐาน เป็นศาสนาที่มีฐานแห่งความจริงที่เรียบง่าย สอนให้ทุกคนยึดมั่นและศรัทธาในพระเจ้าแต่เพียงพระองค์เดียว ซึ่งเป็นศาสนา ที่มีความเรียบง่าย เป็นอย่างมาก อารยธรรมอินเดีย ดินแดนภารตะทุกศาสนาสอนให้คนเป็นคนดี
5. ภาษาและวรรณกรรม
ในแดนลุ่มน้ำสินธุมีวัฒนะธรรมด้านภาษา ตัวอักษรโบราณของอินเดีย ซึ่งเป็นอักษรแบบดั่งเดิม และยังไม่มีนักวิชาการอ่านออก อักษรโบราณจะปรากฎในดวงตราต่าง ๆ มากกว่า 1,200 ชิ้น ซึ่งในดวงตราจะมีภาพวัว ควาย เสื้อ ช้าง และจรเข้ ที่ปรากฎให้เห็น พวกอารายันใช้ภาษาสันสกฤต ที่เป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์ศาสนา ไม่ว่าจะเป็นคำภีร์พระเวท เมื่อประมาณ 1,000 ปีที่ผ่านมาก วรรณกรรมสำคัญมาก คือ มหากาพย์มหาภารตยุทธ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการสู้รบในพวกของอารายัน และพระมหากาพย์รามเกียยรติ์ ซึ่งเป็นการสู้รบกันระหว่างพวกดราวิเดียวและพวกอารายัน อารยธรรมอินเดีย ดินแดนภารตะ
6. อาหาร
อาหาร เป็นอีกเรื่องที่สำคัญสำหรับคนอินเดีย เพราะว่าคนส่วนใหญ่ใน อินเดียต่างก็นับถือศาสนาฮินดู กันเป็นส่วนมาก และนั่นก็หมายความว่าอาหารที่อินเดียวจะหากยาก คือ สัตว์ของเทพเจ้า นั่นก็คือ วัว จึงเป็นอาหารต้องห้ามของชาวฮินดู และหมูก็ยังเป็นอาหารต้องห้ามของชาวมุสลิม อาหารที่หากินได้ยากคือ เนื้อวัว และ เนื้อหมู
7. ศิลปกรรมอินเดีย
สถาปัตยกรรม การขุดซากเมืองฮารัปปาและโมเฮนโจดาโร การวางผังเมืองการก่อนสร้าง เน้นประโยชน์มากกว่าความสวยงามจะมีเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธศสนา หรือเป็นอนุสรณ์ ที่สำคัญ ๆ คือ พระสถูปที่สาญจี เสาหินที่เมืองสารนาถ และพระราชวังของพระเจ้าอโศกเมืองปาฎลีบุตร ในสมัยราชวงค์กุษาณะมีอำนาจเหนืออินเดีย เกิดศิลปะขึ้น 3 แบบ ได้แก่ศิลปะแบบคันธาระ แบบมถุรา และก็แบบอมราวดี ต่อมาในสมัยมุสลิมสถาปัตยกรรมอินเดียว จะผสมผสานระหว่างศิลปะฮินดูและเปอร์เซีย เช่น สุสานตาชมะฮัล เป็นสถาปัตยกรรมหินอ่อนที่ได้รับชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากสร้างในสมัยพระเจ้า ชาร์ ซะฮาน เพื่อเป็นที่ระลึกถึงพระนางมุมตาซ มะฮัล มเหสีของพระองค์ ศิลปะของอินเดียมีแบบต่าง ๆ มากมาย
8. นาฎศิลป์และสังคีตศิลป์
นาฎศิลป์ หรือการฟ้อนรำ คือส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เพื่อบูชาเทพเจ้าตามคัมภีร์พระเวท นาฎศิลป์และสังคีตศิลป์ ซึ่งเป็นศิลปะชั้นสูง เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้าตามคัมภีร์พระเวทอันศักดิ์สิทธิ์ ศิลปะนี้จะเกี่ยวข้องกับวถีชีวิตของชาวอินเดีย และการดนตรี หรือสังคีตศิลป์สมัยพระเวทบทสรรเสริญเทพเจ้า เป็นการร้องที่เก่าแก่มากมีมานานมาก ๆ ในสังคีตศิลป์ของอินเดีย แม้กระทั้งดนตรีที่ใช้บรรเลง การสวดและการร่ายรำทุกสิ่งคือความสำคัญไม่ว่าจะเป็นวีณาหรือพิณที่ใช้สำหรับดีดเวณุหรือขลุ่ย กลอง ที่บ่งบอกถึงความมีอารยธรรมอินเดีย
9. สังคมและวัฒนะธรรมอินเดีย
อินเดียจะมีสังคมและวัฒนธรรมอินเดีย ระบบวรรณะ พราหมณ์ กษัตริย์ ไวศยะหรือแพศย์ ศูทร อารยธรรมอินเดีย ศูทร เป็นชนพื้นเมืองผิวดำหรือผิวคล้ำเป็นพวกทาส กรรมกร มีหน้าที่รับใช้วรรณะอื่น ๆ ปรัชญาและลัทธิทางศาสนาของสังคมอินเดีย อินเดียเป็นแหล่งกำหนิดศาสนา คือ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู พระพุทธศาสนา และศาสนาเชน เทพเจ้าของอินเดีย พวกอารยันจะนับถือธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็น ดวงอาทิตย์ พายุ และต่อมาก็นับถือเพิ่มขึ้น คือ พระศวะ พระพรหม พระวิษณุ สิ่งเหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นความเป็น อารยธรรมอินเดีย
10. สถาปัตยกรรม
อารยธรรมอินเดีย สถาปัตยกรรมของอินเดียว ซึ่งได้รับอิทธิพลจากเปอร์เซีย ที่มีความสวยงามอลังการมาก ๆ ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรม เมืองหลวงใหม่ของพระเจ้าอัคบาร์ ฟาเตห์ปูร์สิครี และทัชมาฮัล ที่ประดับด้วยหินมีค่า บนยอดเป็นหินสีขาว เป็นสถาปัตยกรรมที่งดงามเป็นอย่างมาก และยังมีสุเหร่ามุกของเมืองอัครา ทำให้นิกายเกิดขึ้นอีกหลายนิกายในคนฮินดู ซิก ตันตริก มาดวาและนิกายอื่น ๆ อีกมากมาย และยังมีซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร ทำให้เห็นว่ามีการวางผังเมืองอย่างดี ซึ่งมีสิ่งอำนวยความสะดวก ไม่ว่าจะเป็น ถนน บ่อน้ำ ประปา ที่เน้นประโยชน์มากกว่าสวยงาม ซากพระราชวังที่เมืองปาฏลีบุตรและตักศิลา สถูปและเสาแปดเหลี่ยม สิ่งสำคัญ คือ สถูปเมืองสาญจี และสุสานทัชมาฮาล ที่สร้างด้วยหินอ่อน เป็นการผสมศิลปะของอินเดียและเปอร์เชียที่ดูโดดเด่นงดงามเป็นอย่างมาก
เป็นอย่างไรบ้างกับ 10 เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ อารยธรรมอินเดีย ดินแดนภารตะ จากภูมิประเทศของอินเดียที่มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ และมีเทือกเขาหิมาลัยกั้นอยู่ทางตอนเหนือ อินเดียขึ้นชื่อเรื่องดินแดนแห่งศาสนาปละปัชญา มีศิลปิน นักเขียนเกิดขึ้นในอินเดียเป็นอย่างมาก ความรุ่งเรืองของอินเดียว ก็ไม่ธรรมดา เป็นแผนดินที่มีความร่ำรวยไปด้วยศิลปวัฒนะธรรมและมีทรัพยากรมากที่สุด และอินเดียได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีวัฒนะธรรมเก่าแก่มานานนับพันปีเลยเดียวเดียว
เครดิตรูป www.pexels.com